Customize Consent Preferences

We use cookies to help you navigate efficiently and perform certain functions. You will find detailed information about all cookies under each consent category below.

The cookies that are categorized as "Necessary" are stored on your browser as they are essential for enabling the basic functionalities of the site. ... 

Always Active

Necessary cookies are required to enable the basic features of this site, such as providing secure log-in or adjusting your consent preferences. These cookies do not store any personally identifiable data.

No cookies to display.

Functional cookies help perform certain functionalities like sharing the content of the website on social media platforms, collecting feedback, and other third-party features.

No cookies to display.

Analytical cookies are used to understand how visitors interact with the website. These cookies help provide information on metrics such as the number of visitors, bounce rate, traffic source, etc.

No cookies to display.

Performance cookies are used to understand and analyze the key performance indexes of the website which helps in delivering a better user experience for the visitors.

No cookies to display.

Advertisement cookies are used to provide visitors with customized advertisements based on the pages you visited previously and to analyze the effectiveness of the ad campaigns.

No cookies to display.

Skip to content

การเชื่อมเหล็กในงานโครงสร้าง (1/3)

               การเชื่อม เป็นอีกหนึ่งวิธีการในการเก็บรอยต่อ เป็นการใช้ความร้อนในการเชื่อม อาจจะทำให้เกิดโอกาสยุบ หรือพองตัว ทำให้ไม่สวยงาม อีกทั้งงานเชื่อมเป็นงานที่จำเป็นต้องใช้ทักษะ ความประณีต ความรอบคอบ ความอดทน และความคิดสร้างสรรค์ ด้วยเหตุนี้ช่างที่ทำงานเชื่อม หรือบริษัทที่รับงานเชื่อม จะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคการเชื่อม และวิธีการปฏิบัติงาน

  1. ท่าราบ (Flat Position) คือ ท่าเชื่อมมาตรฐาน โดยการเชื่อมชิ้นงานที่วางราบกับพื้น
  2. ท่าขนานนอน (Horizontal Position) คือ ท่าเชื่อมแนวนอน โดยการเชื่อมชิ้นงานที่วางขนานเป็นแนวตั้ง หรือผนัง (ข้อควรระวัง: การเชื่อมลักษณะนี้อาจจะทำให้เกิดรอยแหว่ง (Undercut) บริเวณด้านบนของรอยเชื่อม)
  3. ท่าตั้ง (Vertical Position) คือ ท่าเชื่อมแนวดิ่ง โดยการเชื่อมชิ้นงานที่วางขนานบนแนวตั้ง หรือผนัง คล้ายกับท่าเชื่อมขนานนอน (ข้อควรระวัง: การเชื่อมลักษณะนี้อาจจะทำให้เกิดรอยแหว่งตามทิศทางการเชื่อมขึ้น หรือลง)
  4. ท่าเหนือศีรษะ (Overhead) คือ ท่าเชื่อมชิ้นงานที่อยู่เหนือศีรษะ ถือว่าเป็นท่าที่ยากที่สุดสำหรับการเชื่อม เนื่องจากจะทำให้เกิดรอยแหว่งได้ง่าย อีกทั้งยังมีอันตรายที่เกิดจากสะเก็ดไฟ และเหล็กที่หลอมละลาย

               ปัจจุบันอาคารบ้านเรือน โรงงานอุตสาหกรรม หรือแม้กระทั่งโกดังสินค้า นิยมหันมาใช้งานโครงสร้างที่ทำจากเหล็กมากขึ้น ทั้งในด้านของความแข็งแรง ความทนทาน โครงสร้างที่ทำจากเหล็กยังให้ความสวยงาม เหมาะกับงานดีไซน์ รูปแบบที่ทันสมัย รวมถึงประโยชน์จากพื้นที่ใช้สอยที่มากขึ้น ไม่มีเสา หรือคานโผล่ออกมารบกวน

               อย่างไรก็ตามโครงสร้างที่ทำจากเหล็กนั้นมีสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้อยู่ และสิ่งนั้นคือ “รอยต่อ” ซึ่งวิธีการเก็บรอยต่อด้วยการเชื่อม มีรายละเอียด ดังนี้

  1. การเชื่อมรอยต่อชน (Butt Joint) คือ ลักษณะรอยต่อที่นำขอบ 2 ชิ้นมาประกบชนกัน โดยที่ชิ้นงานอยู่ในระนาบเดียวกัน ซึ่งรอยต่อลักษณะนี้เป็นรอยต่อทั่วไปที่ใช้ในการเชื่อมโครงสร้างและระบบท่อ
  2. การเชื่อมรอยต่อรูปตัวที (T Joint) คือ ลักษณะรอยต่อที่นำขอบของชิ้นงานนึงมาวางบนอีกชิ้นงานนึงโดยทำมุม 90 องศา ทำให้ขอบมารวมกันตรงกลางแผ่นเป็นรูปตัว “T”
  3. การเชื่อมรอยต่อมุม (Corner Joint) คือ ลักษณะรอยต่อที่นำขอบของชิ้นงานนึงมาวางบนอีกชิ้นงานนึงโดยทำมุม 90 องศาคล้ายกับการเชื่อมรอยต่อรูปตัว “T” แต่ตำแหน่งรอยต่อจะอยู่ตรงขอบมุม
  4. การเชื่อมรอยต่อเกย (Lap Joint) คือ ลักษณะการเชื่อมรอยต่อที่นำชิ้นงาน 2 ชิ้นมาวางซ้อนหรือเกยกัน มักใช้ในการต่อสองชิ้นที่มีความหนาต่างกันเข้าด้วยกัน สามารถทำได้ทั้งด้านเดียวหรือสองด้าน
  5. การเชื่อมรอยต่อขอบ (Edge Joint) คือ ลักษณะรอยต่อที่ให้ขอบของชิ้นงานทั้ง 2 ชิ้นชิด และขนานกันตลอดแนว หรือวางชิ้นงานเอียงทำมุมต่อกันและในการเชื่อมจะทำการเชื่อมที่ผิวหน้าของขอบงานให้ติดกัน ทำเพื่อกระจายแรงกด ที่ทำให้เกิดความเค้นในรอยเชื่อม
Spread the love